วันอังคารที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

Herachy of Memmory

ดูตามรูป


แบบเก่า


ความหมาย(การเปรียบเทียบ)
Speed กับ Slow
Tape, Cd-rom ,Harddisk  มีพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล แต่วิ่งข้อมูลช้า
Mainstore ,Cache , Register     ไม่มีพื้นที่จัดเก็บข้อมูล  แต่วิ่งข้อมูลเร็ว
แต่ละตัวยังแยกออกไปอีก
Tape,Cd-rom,Harddisk วิ่งข้อมูลแบบ Seriall access memmory  (Seriall แบบขนาน)
Main,Cache,Register    วิ่งข้อมูลแบบ  Random  access memmory (สุ่มข้อมูลที่เรียกเข้ามา)

แบบใหม่

ความหมาย(การเปรียบเทียบ)
Speed กับ Slow
Storage sata all ,Cd,Dvd,Buray Rom,Card Reader all      เริ่มจะมีการพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลเพิ่มมากขึ้น และความเร็วด้วย ขนาดเล็กลง
Graphic all เริ่มจะมีการพัฒนาทางด้านกราฟฟิกบวกความเร็วในการส่งข้อมูลด้วย
Mainstore,Cache,Register เริ่มมีความเร็วที่สูงขึ้นกว่เดิม แต่ชิปเล็กลง
Cpu  เริ่มมีการนำเทคโนโลยีคล้าย Hardisk เข้ามาช่วย เพื่อลดปัญหา
คอขวด(การส่งข้อมูลช้า) โดยการนำเทคโลยีที่ชื่อ Buffer เข้ามาจัดเก็บข้อมูลใน Cpu  ทำให้เร็วขึ้นกว่าเดิมมาก พร้อมทั้งCpuรุ่นใหม่มีระบบ 4 แกนประมวลผล เสมือน 6 มี Buffer 10 ในการรองรับ

แต่ละตัวยังแยกออกไปอีก 
Storage sata all ,Cd,Dvd,Buray มีการวิ่งข้อมูลแบบ sata (Seriall access time access memmory)
ตอนนี้ในปัจจุบันมีการวิ่งข้อมูลแบบ sata มีถึง sata 3แล้ว
Carreader all มีการวิ่งในแบบ Usb และ พาราเรียว ส่วนมาก Usb ใช้ข้างนอก พาราเรียว ใช้ข้างใน
Graphic all เริ่มจะมีการพัฒนาทางด้านกราฟฟิกบวกความเร็วในการส่งข้อมูลด้วย
Mainstore เริ่มมีการพัฒนาเพื่อช่วย Cpu โดยมี Ultra boottster เพื่อเร่ง Cpu ให้รับส่งข้อมูลเร็วขึ้น
cache มีขขาดใหญ่ขึ้น
Cpu  เริ่มมีการนำเทคโนโลยีคล้าย Hardisk เข้ามาช่วย เพื่อลดปัญหา
คอขวด(การส่งข้อมูลช้า) โดยการนำเทคโลยีที่ชื่อ Buffer และมีแกนเพิ่มมากขึ้นตอนนี้ 4 แกน
ต่อไปในอนาคตอาจะใช้ถึง 9 แกน


ถ้าผิดส่งมาบอกได้นะครับ

คำคมจากท่าน ว วชิระเมธี




วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

วิวัฒนาการ CPU intel รุ่นต่างๆ

เคยสงสัยไม่ว่า Intel เขาผลิต Cpu อะไรออกมาก่อน จะมาถึง Core i มาดูครับ
ประวัติของ CPU Intel
อินเทล (Intel Corporation) เป็นบริษัทผู้ผลิตซีพียูที่เก่าสุดที่รักและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ซีพยู  4004,8086, 8088 และซีพียูในตระกูล 80x86 เรื่อยมา จนถึง Celeron Pentium II และ III ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในสมัยนั้น ก่อนที่จะก้าวเข้าสู่ยุค Celeron II ,Pentium 4 และ Pentium 4 Extreme Editionที่ได้รับการตอบรับจากผู้ใช้อย่างกว้างขวางเรื่อยมา
ซีพียูรุ่นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันของบริษัทอินเทล (Intel) มีดังนี้
ซีพียูรุ่นเก่า
ตระกูล 80x86 เป็นซีพียูรุ่นแรก ซึ่งปัจจุบันไม่ใช้กันแล้ว
.......................................................................................
Pentium เป็นซีพียูที่เปลี่ยนไปใช้วิธีตั้งชื่อเรียกว่า Pentium แทนตัวเลขแบบเดิม
Pentium MMX เป็นซีพียูที่ได้มีการนำเอาคำสั่ง MMX (MultiMedia eXtension) มาใช้เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางด้านมัลติมีเดีย
Pentium Pro เป็นซีพียูรุ่นแรกของตระกูล P6 ซีพียูรุ่นนี้ใช้กับชิปเซ็ตรุ่น 440 FX และได้รับความนิยมในเครื่องเซิร์ฟเวอร์เป็นอย่างมากใสมัยนั้น
Pentium II เป็นการนำซีพียู Pentium Pro มาปรับปรุงโดยเพิ่มชุดคำสั่ง MMX เข้าไป และเปลี่ยนไปใช้บรรจุภัณฑ์แบบตลับ ซึ่งใช้เสียบลงใน Slot 1 โดยมร L2 Cache ขนาด 512 ME ที่มีความเร็วเพียงครึ่งเดียวของความเร็วซีพียู
Celeron เป็นการนำเอา Pentium II มาลดองค์ประกอบ โดยยุคแรกได้ตัด L2 Cache ออกมาเพื่อให้มีราคาถูกลง
Pentium III เป็นซีพียูที่ใช้ชื่อรหัสว่า Katmai ซึ่งถูกเพิ่มเติมชุดคำสั่ง SSE เข้าไป
Celeron II รุ่นแรกเป็นการนำเอา Pentium III ( Coppermine และ Tualatin) มาลด L2 Cache ลงเหลือเพียง 128 KB และ 256 KB ตามลำดับ
...................................................................................
ซีพียู Celeron D และ Celeron Dual-Core
Celeron รุ่นล่าสุดใช้ชื่อว่า Celeron D ที่ยังคงเป็นซีพียูราคาประหยัดสำหรับผู้ที่ต้องการคอมพิวเตอร์ใหม่ราคาไม่แพง เพื่อนำไปใช้งานทั่วๆไปโดยรุ่นต่างๆที่ออกมาดังนี้
Celeron D (presscott-90 nm) มีความเร็วสูงสุดในปัจจุบันอยู่ที่ 3.33 GHz ในรุ่น 355 ทำงานด้วย FSB 533 MHz ค่า TOD สูงสุด 84 W
Celeron D (Cedar Mill-65 nm) มีความเร็วสุงสุดปัจจุบันอยุ่ที่ 3.6GHz ทำงานด้วย FSB 533 MHz ค่า TOD สูงสุด 65 W
Celeron D (Conroe-L/65 nm) มีความเร็วสูงสุดปัจจุบันอยู่ที่ 2.2 GHz ในรุ่น 450 มี L2 Cache ขนาด 512 KB ทำงานด้วย FSB 800 MHz ค่า TDP สูงสุด 35 W
Celeron Dual-Core (Allendale-65 nm ) มีความเร็วสูงสุดปัจจุบันอยู่ที่ 2.0 GHz ในรุ่น E1400 มี L2 Cache ขนาด 512 KB ทำงานด้วย FSB 800 MHz ค่า TDP สูงสุด 65 W
Celeron Dual-Core (Merom 2M-65 nm) สำหรับ Note book มีความเร็วสูงสุดปัจจุบันอยู่ที่ 1086GHz ในรุ่น T1500 มี L2 Cache ขนาด 512 KB ทำงานด้วย FSB 533 MHz ค่า TDP สูงสุด 35 W
.............................................................................................
ซีพียู Pentium 4
ซีพียูมนตระกูล Pentium 4 ได้ถูกเพิ่มเติมเทคโนโลยี Hyper-Threading (HT) เข้าไปเพื่อช่วยให้สามารถประมวลผลเธรดหรือชุดคำสั่งย่อยต่างๆไปพร้อมๆกันได้เสมือนมีซีพียู 2 ตัวช่วยกันทำงาน ซึ่งทำให้เพิ่มประสิทธิภาพของการทำงานหลายๆอย่างพร้อมกันได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
- Pentium 4 HT (Nothwood-130 nm )
- Pentium 4 HT (Prescott-90 nm )
- Pentium 4 HT (Cedar Mill-65 nm)
ซีพียู Pentium 4 Extreme Edition
Pentium 4 Extreme Edition (Gallatin-130 nm) มีความเร็ว 3.4 GHz มี L2 Cache ขนาด 512 KBค่า TDP สูงสุด 110 W
Pentium 4 Extreme Edition (Prescott 2 M-90 nm ) มีความเร็ว 3.73 GHz ทำงานด้วย FSB 1066 MHz ค่า TDP สูงสุด 115 W
ซีพียู Pentium D
นับเป็นก้าวแรกสู่ยุค Dual& Muti-Core ของ Intel โดย Pentium D ถูกออกมา เพื่อการทำงานที่ต้องการ Multitasking สูงๆ หรือสามารถทำงานกับแอพพลิเคชั่นได้หลายตัวพร้อมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ได้สุดที่รัก
- Pentium D ( Smithfield-90nm)
- Pentium D (Presler-65 nm)
ซีพียู Pentium Dual-Core
Pentium Dual-Core (Allendale-65 nm) มีความเร็วสูงสุดปัจจุบันอยู่ที่ 2.4 GHz ในรุ่น E2220 ทำงานด้วย FSB 800 MHz มี L2 Cache ขนาด 1 MB ค่า TDP สูงสุด 65 W
Pentium Dual-Core (Wolfdale 2M-45 nm) มีความเร็วสูงสุดปัจจุบันอยู่ที่ 2.5 GHz ในรุ่น E2220 ทำงานด้วย FSB 800 MHz มี L2 Cache ขนาด 2 MB ค่า TDP สูงสุด 65 W
Pentium Dual-Core (Yonah-65 nm) สำหรับ Note book มีความเร็วสูงสุด 1.86 GHz ในรุ่น T2130 ทำงานด้วย FSB 533 MHz มี L2 Cache ขนาด 1 MB ค่า TDP สูงสุด 31 W
Pentium Dual-Core (Morom 2M-65 nm) สำหรับ Note book มีความเร็วสูงสุด 2.0 GHz ในรุ่น T24100 ทำงานด้วย FSB 533 MHz มี L2 Cache ขนาด 1 MB ค่า TDP สูงสุด 35 W
ซีพียู Pentium Extreme Edition
เป็น Dual-Core ภายใต้แบรนด์ Pentium ในตระกูล Extreme Edition ที่ถูกออกแบบมาสำหรับคอมพิวเตอร์ระดับ Hi- End สมรรถนะสูง เหมาะกับการสร้างสรรค์สื่อบันเทิงต่างๆอย่างเต็มรูปแบบ ทั้งการประมวลผลภาพวิดีโอ และระบบเสียงแบบ High Definition ทั้งงานด้านการออกแบบและเกมส์ต่าง ๆ ได้สุดที่รัก
- Pentium Extreme Edition (Smithfield-90 nm )
- Pentium Extreme Edition (Presler-65 nm )
ซีพียู Core 2 Duo
Core 2 Duo (Allendale-65 nm) มีความเร็วสูงสุด 2.6 GHz ในรุ่น E4700 ทำงานด้วย FSB 800 MHz มี L2 Cache ขนาด 2 MB ค่า TDP สูงสุด 65 W
Core 2 Duo (Conroe-65 nm) มีความเร็วสูงสุด 3.0 GHz ในรุ่น E6850 ทำงานด้วย FSB 1066 และ 1333 MHz มี L2 Cache ขนาด 4 MB ค่า TDP สูงสุด 65 W
Core 2 Duo (Wolfdale 3M-45 nm) มีความเร็วสูงสุด 2.8 GHz ในรุ่น E7400 ทำงานด้วย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 3 MB ค่า TDP สูงสุด 65 W
Core 2 Duo (Wolfdale -45 nm) มีความเร็วสูงสุด 3.3 GHz ในรุ่น E8600 ทำงานด้วย FSB 1333 MHz มี L2 Cache ขนาด 6 MB ค่า TDP สูงสุด 65 W
ซีพียู Core 2 Extreme (Dual-Core)
Core 2 Extreme (Conroe XE-65 nm ) มีความเร็วสูงสุด 2.93GHz ในรุ่น X6800 ทำงานด้วย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 4 MB ค่า TDP สูงสุด 75 W
.................................................................................
ซีพียู Core 2 Quad
Core 2 Quad (Kentsfield-65 nm ) มีความเร็วสูงสุด 2.66 GHz ในรุ่น Q6700 ทำงานด้วย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 8 MB ค่า TDP สูงสุด 95 W
Core 2 Quad (Yorkfield 4M-45 nm ) มีความเร็วสูงสุด 2.33 GHz ในรุ่น LGA775 ทำงานด้วย FSB 1033 MHz มี L2 Cache ขนาด 4 MB ค่า TDP สูงสุด 95 W
Core 2 Quad (Yorkfield 6 M-45 nm ) มีความเร็วสูงสุด 2.5 GHz ในรุ่น Q9400 ทำงานด้วย FSB 1033 MHz มี L2 Cache ขนาด 6 MB ค่า TDP สูงสุด 95 W
Core 2 Quad (Yorkfield -45 nm ) มีความเร็วสูงสุด 3.0 GHz ในรุ่น Q9650 ทำงานด้วย FSB 1033 MHz มี L2 Cache ขนาด 12 MB ค่า TDP สูงสุด 95 W
ซีพียู Core 2 Extreme (Quad-Core)
Core 2 Extreme (Conroe XE-65 nm) มีความเร็วสูงสุด 3.0 GHz ในรุ่น QX6850 ทำงานด้วย FSB 1066 MHz มี L2 Cache ขนาด 8 MB ค่า TDP สูงสุด 130 W
Core 2 Extreme (Yorkfield XE-45 nm) มีความเร็วสูงสุด 3.2 GHz ในรุ่น QX9775ทำงานด้วย FSB 1600MHz มี L2 Cache ขนาด 12 MB ค่า TDP สูงสุด 150 W
...................................................................................................
ซีพียู Core i7
เป็นซีพียูภายใต้แบรนด์ใหม่ในชื่อ Core i7 ที่ใช้รหัสการผลิตว่า Nehalem หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมแบบใหม่ด้วยโครงสร้างทั้งภายในและภายนอกที่ได้รับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปมาก เช่น การย้ายเอาส่วนควบคุมหน่วยความจำ เป็นต้น
ซีพียู Core i7 Extreme
Core i7 Extreme (Bloomfield-45 nm) มีความเร็วสูงสุด 3.2 GHz ในรุ่น LGA1366ทำงานด้วย FSB 800/1066/1333/1600MHz มี L2 Cache ขนาด 8 MB ค่า TDP สูงสุด 130 W
มาดูรูปกันเถอะ
intel Microprocessor 4004

intel Microprocessor 8008



สนใจเพิ่มเติมคลิกที่นี้
http://www.pharm.chula.ac.th/webelarning/elearning%20Computer53/Real/index.html
ตระกูล Pentium
Pentium  MMX  



Pentium Pro


Pentium II
Pentium III

Pentium 4

ตระกูล Celeron D
 ตระกูล  Celeron Dual-Core
ตระกูล Core 2 Duo


ตระกูล Core i3 

ตระกูล Core i5  





ตระกูล Core i7
ตระกูล Xeon


ธรรมะคาใจ - ตอน ลอกการบ้านใครผิด



วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

More's Law คือใคร

เนื้อหาโดยย่อมีดั่งนี้ครับ
    กฎของมัวร์ (Moore's Law)
      หากกฎของมัวร์เป็นจริงคอมพิวเตอร์จากอดีตสู่ปัจจุบันจะก้าวไปอย่างไรในปี พ.ศ. 2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งที ่ประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์" แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสูญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสูญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ พ.ศ. 2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวได้แพร่หลาย มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์  กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม กอร์ดอน มัวร์ (Gordon E. Moore)ผู้อำนวยการวิจัยและพัฒนาของบริษัทแฟร์ซายด์เซมิคอนดัคเตอร์เป็นผู้อยู่ในวงการวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และการค้นคว้า ทางด้านสารกึ่งตัวนำ ต่อมาเขาได้เป็นผู้บุกเบิกและร่วมสร้างบริษัทอินเทลจนมีชื่อเสียงโด่งดังและประสบผลสำเร็จ การผลิตและการค้นคว้าทางด้านสารกึ่งตัวนำส่วนใหญ่ของแฟร์ซายด์จะอยู่ในการดำเนินการของมัวร์เขาได้คลุกคลีกับเทคโนโลยีมาอย่าง ต่อเนื่อง และยาวนานจากการสังเกตและคาด คะเน แนวโน้มทางเทคโนโนโลยีของมัวร์ในที่สุดเขาได้ตั้งกฎของมัวร์ (Moore's Law) จนเป็นที่ยอมรับ และทำให้การคาดคะเนอนาคตได้ใกล้เคียง ความเป็นจริง ทฤษฎีของมัวร์ได้กล่าวไว้ว่าความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและความซับซ้อนของเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอรืทำให้สามารถผลิต     ไอซีที่มี ความหนาแน่นไดด้เป็นสองเท่าทุก ๆ ช่วงระยะเวลาหนึ่ง เขาได้ทำการพล็อตกราฟแบบสเกลล็อกให้ดูจากอดีตและพบว่าเป็นเช่นนั้นจริง นอกจากนี้ความก้าวหน้าอื่น ๆ อีกหลายอย่างก็เป็นไปตามกฎของมัวร์ด้วยเช่นกัน การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ    planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ เทคโนโลยีนี้เป็นต้นแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐานที่กล่าวอ้างไว้พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์ก็ได้กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์   





กฎของมัวร์ (Moore’s law) อธิบายโดย กอร์ดอน มัวร์ (Gordon Moore) อดีตซีอีโอและผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทลกล่าวถึง ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม จะเพิ่มเป็นเท่าตัวทุกสองปี
กฎของมัวร์จะเป็นไปได้หรือ?
      จากความก้าวหน้าของการพัฒนาสารกึ่งตัวนำที่รวดเร็ว พัฒนาทางด้านคอมพิวเตอร์จะไม่ถึงขีดจำกัดบ้างหรือ คำถามนี้เป็นคำถาม ที่หลายคนตั้ง อย่างไรก็ดี หากพิจารณาถึงความเป็นจริง ทุกสิ่งทุกอย่างไม่อยู่กับที่ กฎของมัวร์ก็เช่นกัน คงไม่ใช่เป็นกฎแบบอยู่กับที่ กฎของมัวร์ก็เช่นกัน คงไม่ใช่เป็นกฎแบบอยู่กับที่ แต่จะเปลี่ยนแปลงกับสภาพกาลเวลาด้วย แต่ด้วยความสามารถของมนุษย์ในการคิดค้นต่าง ๆ จึงเชื่อมั่นว่าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายยังมีหนทางที่พัฒนาไปได้อีกมาก มนุษย์กับไซเบอร์สเปซ และคนกับหุ่นยนต์ ที่อยู่ร่วมกันจะได้เห็นอย่างแน่นอน
แหล่งอ้าอิงครับ
ผู้เขียน : ยืน ภู่วรวรรณ
เรียบเรียงจาก : หนังสือไมโครคอมพิวเตอร์
Rebert R Schller "Moore's Law : Past, Present, and Futrue. IEEE Spectrum, June 1997, Vol 34 No 6 pp.53-59

ที่สุดของความอยาก - ว. วชิรเมธี

วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ASCII Name

ADITHEP  MUKDEE  1bytte = 8 bit =1010 (4ตัวเลข)
26 byte
ASCIICODE    ฐาน 16    BYTE   ตัวอักษร              ASCIICODEที่จะทำเป็นฐาน 16
100 0001          41                2           A                                              0100 0001
100 0100          44                2           D                                              0100 0100
100 1001          49                2           I                                               0100 1001
101 0100          54                2           T                                              0101 0100 
100 1000          48                2           H                                             0100 1000
100 0101          45                2           E                                             0100 0101
101 0000            5                2           P                                             0101 0000
010 0000            2                2      SPACEBAR                                0010 0000
010 0000            2                2      SPACEBAR                                0010 0000
100 1101         4D                2           M                                            0100 1101
101 0101         55                 2            U                                           0101 0101
100 1011         8B                 2            K                                          0100 1011
100 0100         44                 2             D                                          0100 0100
100 0101         45                2             E                                           0100 0101
100 0101         45                2             E                                           0100 0101
  
ลองเอาไปเล่นดูเดียวผมแนบไฟล์ Code ไปให้สนุกมากๆASCII Name

Peck Palitchoke สนทนาธรรมกับท่าน ว วชิรเมธี